JunoCam กล้อสำหรับการค้นหาคำตอบของดาวพฤหัส

JunoCam

รู้หรือไม่ JunoCam ทำไมถึงไม่นับว่าเป็นอุปกรณ์วิทยาศาสตร์?

JunoCam จริงๆ แล้วมันคือ อุปกรณ์กล้อง ที่ติดอยู่ใน ยาน Juno และในยานนั้นมีอุปกรณ์อีกมากมาย ที่ขึ้นไปพร้อมกับ JunoCam และจริงๆแล้วมันคืออุปกรณ์กล้อง ที่ติดขึ้นไปที่พร้อมกับเซ็นเซอร์ เพื่อเอาไว้ใช้ถ่ายภาพยาน ซึ่งความละเอียดของมัน มีเพียงแค่ 1600×1200 พิกเซลเท่านั้น

และจุดประสงค์ที่นาซ่า ได้ทำขึ้นมานั้น เพียงแค่จะส่งภาพ และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ที่ผ่านกล้อง JunoCam เท่านั้น ซึ่งตัวกล้องมันจะติดอยู่กับยาน แล้วมันจะถ่ายภาพตามยานหันไปเท่านั้น และซึ่งเป้าหมายหลักของนาซ่า อาจจะมีเพียงแค่ การสำรวจดาวพฤหัส เพียงแค่นั้น และมีภารกิจ สำหรับการค้นหาคำตอบของ ดาวพฤหัส ว่ามีอะไรบ้าง 

ประวัติของยาน juno ที่เดินทางไปยังดาวพฤหัส

ซึ่งประวัติของยานลำนี้ ได้ถูกส่งออกจากโลก ในวันที่ 5 สิงหาคม 2011 เป็นการปล่อยจรวดขึ้นจาก สถานีกองทัพอวกาศ เคปคานาเวอเรล ซึ่งใช้เวลามากเกือบถึง 5 ปีในการที่บินไปถึง ดาวพฤหัสบดี และในวันที่ถึงจุดหมายนั้น เป็นวันที่ 4 ของเดือนกรกฎาคมในปี 2016 สำหรับยาน juno นั้นเป็นยานลำที่ 2 ที่วงโคจรรอบๆดาวพฤหัส ต่อจากยานอวกาศ ที่มีชื่อว่ากาลิเลโอ

สำหรับตัวอย่างของ juno นั้นจะใช้พลังงาน จากแผงโซล่าเซลล์ เป็นพลังงานหลัก เพื่อให้ใช้กับดาวเทียม ได้โคจรบนดาวพฤหัส และชื่อเต็มของ juno นั้นได้ตั้งขึ้นตามตำนานเทพกรีก ซึ่งเป็นลูกของเทพจูปิเตอร์ ซึ่งเทพจูปิเตอร์นั้น ได้ซ่อนความผิดของตัวเอง เอาไว้ในเมฆหมอกและ juno เองที่เป็นคนแหวกเมฆหมอกนั้น ทำให้เห็นความจริง ของพ่อตัวเอง

แต่อย่างไรก็ตาม NASA ได้มีระบุ ว่าชื่อจริงๆแล้วนั่นก็คือ JUpiter Near-polar Orbiter และถูกย่อลง ให้เหลือเฉพาะตัวพิมพ์ใหญ่เท่านั้น 

ภารกิจสำรวจ เกี่ยวกับยานลำนี้ สามารถสำรวจ เกี่ยวกับดาวพฤหัสบดีได้ 

เพื่อเป็นการค้นหาคำตอบ ว่าดาวพฤหัสบดีนั้น จะมีแกนหินหรือไม่ รวมถึงปริมาณชั้นบรรยากาศ ที่ลึกลงไปข้างใน การกระจายมวล และความเร็วลมนั้น ซึ่งจะสามารถบรรยายให้กับเราได้ ว่าความเร็วของมันมีเท่าไหร่ เชื่อหรือไม่ว่าดาวพฤหัสบดีนั้น มีความเร็วลมมากถึง 618 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลยทีเดียว

ซึ่งไวอย่างมาก ซึ่งในโลกของเรานั้น การกำหนดแรงลม ซึ่งถ้าหากว่ามีความแรง อยู่ที่ประมาณ 100 กิโลเมตรขึ้นไป ก็ถือว่าเป็นลมที่รุนแรงอยากมาก และอันตรายมากที่สุด ไม่ว่าบ้านเรือน หรือว่าสิ่งของต่างๆ ที่มีน้ำหนัก ก็สามารถลอยขึ้นไปได้ แต่นี่มีความเร็วมากถึง 618 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังนั้นบอกได้เลยว่า เหมือนใบมีดที่ตัดพร้อมกัน 6 ครั้งในจุดเดียว ซึ่งเปรียบเทียบได้เลย 

ภาพถ่ายของยาน juno ที่เคยถ่ายมาให้โลกได้เห็น 

และภาพถ่ายแรก ก็คือภาพของโลกนั่นเอง เป็นภาพถ่ายในขณะที่ ตัวยานนั้นกำลังโคจรรอบโลก ซึ่งมันใช้แรงโน้มถ่วงของโลก ในการวนโคจร และใช้แรงโน้มถ่วง เหวี่ยงตัวออกไป เพื่อเป็นการเดินทาง ให้ไปถึงดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีการถ่ายภาพให้เห็นโลกของเรา แบบระยะใกล้ๆ เพียงแค่ 3,200 กิโลเมตรเท่านั้น

หลังจากนั้นที่ถ่ายเสร็จ ตัวอย่างก็ถูกเหวี่ยงตัวออกไป เพื่อเป็นการเริ่มต้น เดินทางไปยังดาวพฤหัส ซึ่งใช้เวลามากถึง 3 ปีกว่าจะกลับมาวงโคจรกับโลกอีกครั้ง และถูกส่งตัวออกไป ถึงดาวพฤหัสบดีนั่นเอง ในเดือนสิงหาคมปี 2016 และมันได้ทำภารกิจครั้งแรก

ด้วยการถ่ายภาพดาวพฤหัส ซึ่งเป็นการถ่ายแบบระยะไกล แบบทุกๆ 15 ถึง 30 นาที และหลังจากนั้นก็จะได้ภาพ ในแต่ละมุม เสร็จแล้วก็จะมีการ นำภาพมาเรียงตัวกัน และทำให้เรา ได้เห็นดาวพฤหัส แบบชัดเจนยิ่งขึ้น 

ไขข้อสงสัย สำหรับคนที่สงสัย เกี่ยวกับการส่งภาพ มันสามารถส่งกลับมาได้อย่างไร 

เป็นระบบของทางวิทยาศาสตร์ DSN หรือชื่อเต็มว่า Deep Space Network เป็นการถ่ายภาพ และถูกส่งมายังโลก ด้วยจำนวนบิตเรทอยู่ที่ประมาณ 325 ต่อวิ ด้วยขนาดสัญญา ที่ใหญ่มากและถูกติดไว้ 3 มุมของโลก ทำให้สามารถได้รับ สัญญาณจากการส่ง ได้แบบไม่มีพื้นที่จำกัด และสัญญาณก็จะมีจุดที่ดี กับจุดที่ไม่ดีบ้าง ซึ่งยานลำนี้ จะต้องใช้การโคจร ให้ครบรอบดาวพฤหัสบดี ต้องใช้เวลามากถึง 11 วันด้วยกัน และวนมาให้ถึงสัญญาณ ที่ดีที่สุดในแต่ละจุด หลังจากนั้นก็จะส่งภาพกลับมา

ซึ่งเอาง่ายๆเลย เวลาที่เราจะได้สัญญาณดีๆ เราต้องหันเสา ไปหาคลื่นเหล่านั้น ซึ่งแน่นอนว่าเสา มันจะต้องตรงมาถึงโลก เพื่อที่จะได้รับสัญญาณเหล่านั้น ซึ่งในการให้ข้อมูล ใช้เวลาไม่น้อยเลย เพราะว่าในการวนโคจร มาจนถึงจุดที่ต้องการ ต้องใช้เวลาถึง 11 วันในแต่ละครั้ง ด้วยความที่มีการจำกัด ของการส่งรูปภาพในแต่ละครั้ง อยู่ที่ประมาณ 325 บิตเรตต่อวิ ทำให้ส่งรูปภาพได้สูงสุดเพียงแค่ 100 รูปเท่านั้น 

JunoCam ถือว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญ ให้กับนักวิทยาศาสตร์ 

เป็นการส่งสำรวจ ในรูปแบบที่ไม่ได้คาดหวัง กับกล้องเท่าไหร่มากนัก เนื่องจากนักวิทยาศาสตร์ ได้ตีว่า JunoCam ในการส่งขึ้นไป อาจจะถูกสนามแม่เหล็ก ที่อยู่บนดาวพฤหัส ถูกรบกวน หรือทำลายจนไม่สามารถใช้การได้ ซึ่งมีโอกาสผิดพลาดได้จนสูงมาก และแน่นอนว่า มันเลยไม่ได้เป็นเครื่องมือของทางวิทยาศาสตร์ ประโยชน์ของมันในครั้งนี้ เป็นการชี้เป้า ให้กับทางนักวิทยาศาสตร์ ได้รู้เรื่องราวต่างๆมากมาย เกี่ยวกับการส่งยานอวกาศออกไป ว่าจะใช้ยานอวกาศแบบไหน หรือว่าอยากจะลงไปในพื้นที่แบบไหน เรียกได้ว่า cassini เหมือนกับเป็นหนูลองยา บินไปยังเป้าหมาย เพื่อทำการทดลองแค่นั้น บางคนก็ว่า JunoCam เหมือนเป็นเพียงแค่กล้องที่อยู่หน้ารถ จริงๆแล้วมันมีประโยชน์มาก สำหรับการส่งภาพต่างๆมากมาย เรียกได้ว่า เหมือนกับการไปเก็บประสบการณ์ เพื่อที่จะได้นำภาพที่ดีที่สุด ได้นำมาเป็นตัวอย่าง และหาประโยชน์ในครั้งต่อไป 

จากภาพถ่ายของดาวพฤหัส การโคจรรอบดาวพฤหัสบดี เป็นในรูปแบบของ Polar Orbit

ซึ่งเป็นการโคจร แบบตั้งแต่ขั้วโลกเหนือ ไปจนถึงขั้วโลกใต้ และค่อยๆลงไปทีละเล็กน้อย ให้เราได้เห็นภาพ ของดาวพฤหัสบดีอย่างชัดเจน และยังเป็นยานลำเดียว ที่สามารถบันทึกภาพ ของดาวพฤหัสที่ค่อยๆถอยห่างออกไป ซึ่งทำให้เราได้เห็นความชัดเจนยิ่งขึ้น ของ Great Red Spot หรือจุดแดงใหญ่ ที่อยู่ใต้ดาวพฤหัส มันคือจุดแดงที่มีขนาดใหญ่เท่ากับโลก คุณสามารถสังเกตเห็นได้แบบชัดเจน มันคือพายุลูกใหญ่มาก ซึ่งมีการสำรวจและเฝ้าสังเกตการณ์ มามากกว่า 300 ปีแล้ว สิ่งที่กล้องตัวนี้สามารถทำได้ คือการบินเข้าไปใกล้มากที่สุด ราวๆประมาณ 9,000 กิโลเมตร 

ข้อมูลโดยรวมและประวัติ ของกล้องหน้ารถที่มีชื่อว่า JunoCam

ถึงแม้ว่าตัวมันอาจจะดูเหมือนไร้ค่า แต่จริงๆแล้วมันก็ช่วยประโยชน์ได้ เรียกได้ว่าเป็น อนิเมะ ตัวตายตัวแทน แต่อาจจะมีหลายคน ที่ยังสงสัยและยังถามว่า ให้บินขึ้นไปทำไม บางครั้งมันอาจจะมองดูเหมือนไม่มีประโยชน์ แต่จริงๆแล้วมันอาจจะมีประโยชน์ในอนาคต

สำหรับคนที่ต้องการดู และศึกษาเรื่องราวมากกว่าเดิม ซึ่งแน่นอนว่าสิ่งที่ได้รับมา จากการขึ้นไปสู่อวกาศในครั้งนี้ของยาน Juno ทำให้เราได้สังเกตเห็น ดาวพฤหัสได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น และได้ถ่ายมุมที่ไม่มียานลำไหนสามารถทำได้ ด้วยการที่บินและโคจรแบบ Polar Orbit ทำให้สามารถได้เห็น มุมที่แปลกใหม่และน่าสนใจมากกว่าเดิมอย่างมาก