ลิเทียมคลอไรด์ มีสูตรเคมีคือ LiCl สามารถดูดความชื้นจากบรรยากาศได้ดี

0
ลิเทียมคลอไรด์

ลิเทียมคลอไรด์ สามารถละลายน้ำได้ เมื่อเทียบกับโซเดียมคลอไรด์และโพแทสเซียมคลอไรด์จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์มีขั้วเช่นเมทานอลและอะซิโตน

ลิเทียมคลอไรด์ ทำหน้าที่เป็นแหล่งไอออนของคลอไรด์ ({\displaystyle {\ce {Cl^-}}}{\displaystyle {\ce {Cl^-}}}) เช่นเดียวกับเกลือที่ละลายน้ำได้อื่น ๆ การผสมกับเกลือโลหะบางชนิดในสารละลาย จะทำให้เกิดคลอไรด์ที่ไม่ละลายน้ำ ตัวอย่างเช่นการทำปฏิกิริยากับตะกั่ว(II) ไนเตรตจะทำให้เกิดตะกั่ว(II) คลอไรด์

{\displaystyle {\ce {2LiCl(aq)\ + Pb(NO3)2(aq) -> PbCl2(s)\ + 2LiNO3(aq)}}}{\displaystyle {\ce {2LiCl(aq)\ + Pb(NO3)2(aq) -> PbCl2(s)\ + 2LiNO3(aq)}}}
Li+ (ลิเทียมไอออน) เป็นกรดเลอวิสอ่อน ยกตัวอย่างเช่น 1 โมล ของลิเทียมคลอไรด์สามารถเชื่อมต่อแอมโมเนียได้ถึง 4 โมล

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *