กำเนิดระบบสุริยะ และการวิวัฒนาการของกาลเวลา
กำเนิดระบบสุริยะ ย้อนกลับไปเมื่ออดีตราวๆประมาณ 4,500 ล้านปีที่ผ่านมา การก่อตัวขึ้นของระบบสุริยะ ที่เกิดขึ้นจากพวกธาตุต่างๆ เช่น ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม จากแรงโน้มถ่วงนั้น ทำให้พวกมันมารวมตัวกันกลายเป็นก้อน แล้วยังมีธาตุอื่นๆที่เข้ามาร่วมแจมอีกด้วย
ชิ้นส่วนต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาก ดาวฤกษ์ ซึ่งเป็นดาวฤกษ์จากอดีต ส่วนใหญ่แล้วเขาจะเรียกกันว่า ดาวฤกษ์ต้นกำเนิด ซึ่งในนั้นมันมีจำนวนมากกว่า 1000 ถึง 10000 ดวงเลยทีเดียว การรวมตัวกันครั้งนั้น จึงได้สร้างดวงอาทิตย์ขึ้นมา ในระบบสุริยะนั้น ระบบนั้นได้เกิดขึ้นจากกลุ่มฝุ่นและแก๊สในอวกาศ ที่เรียกกันว่าเนบิวลาสุริยะ
พวกสารเหล่านั้น จะมารวมตัวกันและถ้าเกิดว่า มีสสารกลุ่มไหนที่รวมตัวกันหนาแน่นมากที่สุด มันจะกลายเป็นดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลางของระบบ ซึ่งนั่นมันมีอิทธิพลมหาศาลมาก และทำให้สสารโดยรอบ ถูกดึงดูดเข้ามารวมตัวกัน และกลายเป็น ดาวเคราะห์
การก่อตัวของดาวเคราะห์
มันเกิดขึ้นจากการที่ดาวฤกษ์หรือ ดวงอาทิตย์ก่อเกิด ได้ถึงสถานเหล่าแก๊สและฝุ่น สิ่งเหล่านั้นมันก็เริ่มพุ่งเข้าหากัน และชวนกันไปเรื่อยๆ แล้วได้ก่อตัวกลายเป็นดาวเคราะห์ และสิ่งเหล่านั้นก็รวมตัวกัน เกิดกลายมาเป็นก้อนหิน และก็น้ำแข็ง จากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ แล้วก็จะเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก ที่จะมีแรงโน้มถ่วงและดึงดูดสสารต่างๆเข้าหาตัวเองได้ การรวมตัวของเหล่าสสารนั้น บริเวณใจกลางจะมีความร้อนสูงมาก และบริเวณเหล่านั้น ที่เป็นจุดศูนย์กลางของดาวเคราะห์ มันจะมีความร้อนสูงมาก
จึงทำให้มีเพียงแค่หินและเหล็ก ที่สามารถคงความร้อนและอยู่ต่อได้ แล้วจนกลายมาเป็นดาวเคราะห์หิน ซึ่งจะมีเพียงแค่ 4 ดวงซึ่งได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ทั้งหมดนี้ถือว่าเป็น ดาวเคราะห์หิน และดาวเคราะห์ที่ยังเหลืออยู่ จะเป็นดาวเคราะห์สสารที่เป็นดาวเคราะห์แก๊สและน้ำแข็ง มันจึงได้กลายเป็นดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ จะมี ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ใจกลางของระบบสุริยะ
ด้วยความร้อนและความหนาแน่น เรียกกันได้ว่าร้อนระอุ ซึ่งมันจะมีอุณหภูมิที่สูงพอ ที่สามารถหลอมรวมไฮโดรเจน และจนกลายมาเป็นฮีเลียมได้ และนั่นดวงอาทิตย์จึงได้มีพลังงานมหาศาล หรือที่เรียกกันว่านิวเคลียร์ฟิวชั่น ซึ่งปฏิกิริยานี้มันจะสร้างแรงผลัก และสามารถต้านแรงยุบตัวได้ มันจึงกลายเป็นสภาวะที่สมดุล มันถึงได้กลายเป็นดวงอาทิตย์ที่มีสภาพคงที่
ด้วยสภาพที่คงที่ ลมสุริยะได้ทำการพัดธาตุต่างๆ ซึ่งเป็นธาตุที่มีน้ำหนักเบา อย่างเช่นฮีเลียม และไฮโดรเจน คือมันจะออกห่างจากดวงอาทิตย์ไปเรื่อยๆ และจะเหลือเพียงแค่หินและธาตุเหล็ก แล้วมันได้หลอมรวมกัน จนกลายมาเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน แล้วดาวเคราะห์ชั้นนอก ก็จะเป็นเรากลุ่มก๊าซและฮีเลียมและน้ำแข็ง ที่หลอมรวมกันกลายเป็นดาวเคราะห์แก๊สยักษ์
การแตกตัวของระบบสุริยะนั้น หากเราแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ
ซึ่งถ้าหากดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง ที่ซึ่งเป็นดวงอาทิตย์นั้น ก็จะแบ่งไปด้วยดาวเคราะห์ส่วนใน ที่มีทั้งหมดอยู่ 4 ดวงด้วยกันและขอบด้านนอก ก็จะกลายเป็นดาวเคราะห์น้อย แล้วถัดไปอีก ก็จะเป็นเราดาวแก๊สยักษ์ ที่มีจำนวนอยู่ 4 ดวงด้วยกัน และผลัดไปอีก ที่เจอกับดาวพลูโต
ซึ่งในทางดาราศาสตร์นั้น เขาจะเรียกกันว่าแถบไคเปอร์ เป็นแถบของดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ในระบบสุริยะ หลายคนคงสงสัยว่า ทําไมดาวพลูโต ถึงไม่ได้จัดรวมกลายเป็นดาวเคราะห์ของระบบสุริยะ ที่มีอยู่ทั้งหมด 8 ดวงด้วยกัน เนื่องจากเป็นเพราะว่า ดาวพลูโตนั้นไม่สามารถขับไล่วัตถุเล็กๆ ที่อยู่ในบริเวณแถบไคเปอร์ ให้พ้นออกมาจากวงโคจรของมันได้ แล้วยังมีดาวหาง ที่เป็นวงโคจรที่ไกลกว่าดาวพลูโต มันถึงได้เป็นระบบสุริยะ
คลิปที่มาจากช่องยูทูป GrandMaster TV
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุริยะชั้นใน
อย่างที่บอกไว้ว่า ดาวเคราะห์ชั้นในนั้นจะมีอยู่ 4 ดวงด้วยการ ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้กับโลก ทั้งหมดนั้นจะมี กําเนิดจักรวาล บิ๊กแบง สารประกอบไปด้วยหิน แล้วเป็นหินที่มีความหนามาก ซึ่งเหล่าดาวเคราะห์เหล่านี้ ก็จะมีบางดวงที่มีดวงจันทร์ และบางดวงที่ไม่มี และไม่มีระบบวงแหวน ที่ล้อมรอบตัวเองนั้น
สารประกอบต่างๆ จะเป็นแร่ธาตุที่มี จุดหลอมเหลวสูง อย่างเช่น เหล็ก ซิลิเกต โลหะ นิเกิล ที่รวมกันจนกลายเป็นดาวเคราะห์ และเป็นแกนกลางของดาวเคราะห์ชั้นใน ซึ่งเราสามารถเห็นพื้นผิว และเปลือกของมันได้อย่างชัดเจน และพื้นผิวของมัน ก็จะเป็นหลุมเป็นบ่อ ที่เกิดจากแรงปะทะต่างๆ จากชิ้นส่วนของอวกาศ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ระหว่างพื้นผิว การแยกตัวของภูเขาไฟด้วย
เดินทางต่อไปจนไปถึงดาวเคราะห์น้อยที่ในระบบชั้นใน
ดาวเคราะห์น้อย เหล่านี้ จะเป็นส่วนขั้นกลาง ระหว่างดาวเคราะห์แก๊สที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่วัตถุขนาดเล็ก และมีสารประกอบไปด้วยเหล็ก และหินที่ไม่ระเหย ซึ่งมันอยู่ระหว่างกลาง ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี นักดาราศาสตร์เล่ากันว่า ดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้ กลายเป็นชิ้นส่วน และเป็นชิ้นส่วนการก่อตัวของดาวในช่วงแรกๆ ไม่เป็นการก่อตัวไม่สำเร็จ
เนื่องจากมีการรบกวนจากทางดาวพฤหัส ซึ่งมักจะมีขนาดที่แตกต่างกัน มันจะมีตั้งแต่ขนาดหลายร้อยกิโลเมตร จนไปถึงขนาดเล็ก เปรียบเทียบได้เหมือนฝุ่น และแถบของดาวเคราะห์น้อยนั้น มันก็จะมีดาวบางดวง ที่มีขนาดใหญ่
ซึ่งเขาจะเรียกกันว่าดาวเคราะห์แคระ จัดได้ว่าเป็นวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ และแถบของดาวเคราะห์แคระเหล่านี้ ก็จะมีเทหวัตถุขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่มีความใหญ่กว่าประมาณ 1 กิโลเมตร และในน้ำจะมีจำนวนหลายหมื่นดวงด้วยกัน หรือว่าจะเป็นถึงล้านเลยก็ได้
มาต่อกันด้วยทำความเข้าใจกับระบบสุริยะชั้นนอก
ในบริเวณนี้เป็นถิ่นฐาน และเป็นที่อยู่ของดาวแก๊สต่างๆ ซึ่งเป็นดาวเคราะห์แก๊สที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งมีขนาดที่ใหญ่มาก จนได้กลายเป็นดาวเคราะห์ได้ สสารที่อยู่ในบริเวณแถวนี้ เต็มไปด้วยสารประกอบที่ระเหยได้ง่าย อย่างเช่นน้ำ แอมโมเนีย มีเทน ซึ่งเขาจะเรียกกันว่าดาวเคราะห์น้ำแข็ง และไม่มีสารประกอบที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับหิน และเหล็กเลยแม้แต่น้อยนั่นเอง และหลายคนก็เชื่อว่าพื้นผิวของดาวแก๊สรอบนี้ เป็นพื้นเหลวที่ไม่สามารถเหยียบได้ ได้ระบบสุริยะชั้นนอก ก็แบ่งไปด้วย 4 ดาวด้วยกันเช่นเดียวกัน
รูปแบบของมัน อย่างที่เขาเรียกกันว่าดาวแก๊สขนาดใหญ่ ดูลักษณะเฉพาะของมัน มันจะมีดาวที่แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทเช่นเดียวกัน ซึ่งจะมีดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ที่มีองค์ประกอบไปด้วยฮีเลียม และไฮโดรเจนที่เยอะมาก ส่วนดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนนั้น เป็นดาวที่นักดาราศาสตร์เขาเรียกกันว่า ดาวน้ำแข็งยักษ์นั่นเอง ดาวแก๊สทั้งหมดนั้นมันจะมีวงแหวนล้อมรอบตัวเองตลอดเวลา แล้วเราไปเห็นเพียงแค่ดาวเสาร์เท่านั้น หากเรามองจากโลก เราจะเห็นดาวเสาร์ที่มีวงแหวนได้ชัดมาก
แถบไคเปอร์แถบที่อยู่ไกลออกไปถัดจากดาวเนปจูน
และในสถานที่เหล่านี้ ยังไม่ค่อยมีใครได้สำรวจมากนัก ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกลออกไป และแถบไฮเปอร์จะเป็นที่อยู่อาศัย ของดาวพลูโตและดาวเคราะห์น้อยอื่นๆทั่วไป ซึ่งการก่อตัวครั้งแรกของแถบไคเปอร์ ลักษณะของมันนั้นจะเป็นวงแหวนขนาดใหญ่ และเศษวัตถุต่างๆกระจัดกระจายทั่วไป และส่วนมากวัตถุเหล่านี้จะเป็นน้ำแข็ง และพวกน้ำแข็งเหล่านี้ ก็เคยเป็นวัตถุที่ครอบคลุมพื้นที่ ที่อยู่ในช่วง 30-50 AU แบบง่ายๆก็คือแถบไคเปอร์ เป็นแถบที่เหมือนกับดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ใกล้ๆกับดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี
แต่มันจะเป็นดาวเคราะห์ที่มีกลุ่มขนาดใหญ่อย่างมาก ความแตกต่างของกลุ่มดาวเคราะห์รอบนี้ จะไม่ให้เป็นพวกหิน และพวกเหล็กที่หลงเหลือจากการต่อตัวไม่สำเร็จอีก แต่ในแถบไคเปอร์นั้น ส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นวัตถุน้ำแข็ง และส่วนนี้เป็นที่อยู่ของดาวเคราะห์แคระ ที่ได้รับการยอมรับถึง 3 ดวงด้วยกัน ซึ่งนั่นก็จะมีดาวพลูโต ดาวเฮาเมอา ดาวมาคีมาคี รวมถึงดาวหาง ที่มาจากแถบเหล่านี้
การวิวัฒนาการของ กำเนิดระบบสุริยะ จนมาถึงปัจจุบันนี้ที่ผ่านกาลเวลามามากมาย
ระบบของสุริยะนั้น เริ่มต้นจากดาวฤกษ์ดวงแรก นั่นก็คือ ดูบอล ดวงอาทิตย์ แล้วมีบริวารล้อมรอบ ที่ค่อยๆกำเนิดมาเรื่อยๆ กาลเวลาที่ผ่านไปมาอย่างยาวนาน ซึ่งเราอาจจะไม่เคยคิดว่า เวลานั้นมันผ่านมาแล้วประมาณ 4500 ล้านปี นับตั้งแต่การเกิดที่ดีของบิกแบง ระบบสุริยะนั้นที่มีแรงโน้มถ่วง และแรงผลักที่เสมอกัน จึงทำให้ดาวเคราะห์ทั้งหมดที่อยู่ล้อมรอบดาวฤกษ์ ได้วงโคจรกันแบบเป็นระบบ จนกลายมาเป็นระบบสุริยะในปัจจุบันนี้
แนะนำเองรวมถึงโลกของเรา ที่อยู่ในระบบสุริยะของพระอาทิตย์ที่เป็นดาวฤกษ์และเป็นศูนย์กลาง การคำนวณเวลา และการบ่งบอกการเกิดของสุริยะ ทางนักดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้ทำการค้นคว้า และวิจัยเกี่ยวกับเรื่องราวที่เกิดขึ้น พร้อมกับการสาธิตหลายๆ และทฤษฎีที่เป็นไปได้ และระยะเวลาเหล่านั้น และระยะเวลาที่ทำการวิจัยเหล่านี้ มีการวิจัยมาอย่างยาวนาน
ซึ่งอาจจะมีการวิจัยมากกว่า 100 ปีแล้วด้วยซ้ำ กว่าที่จะรู้เรื่องราวทั้งหมดนี้ และทฤษฎีในแต่ละแบบ ดังนั้นข้อมูลที่เรานำมาเสนอนี้ เป็นข้อมูลที่อ้างอิงจากทฤษฎีต่างๆจากนักวิทยาศาสตร์ มานำเสนอให้คุณได้รู้จัก และได้สัมผัสกับสิ่งที่มหัศจรรย์ กับเรื่องราวของระบบสุริยะ ที่มีมานานมากกว่า 4500 ล้านปีแล้ว ยังเหลืออีกมากมายที่ยังไม่ได้ค้นหา ซึ่งเราจะต้องมาเรียนรู้กันอีกมากมาย และนั่นเป็นสิ่งที่น่าติดตาม สำหรับเรื่องดาราศาสตร์