ดาวเคราะห์ K2-18 b เอื้อต่อการอาศัยของสิ่งมีชีวิต
ดาวเคราะห์ K2-18 b ดวงใหม่ที่ใกล้เคียงโลกมนุษย์
ดาวเคราะห์ K2-18 b กล้องโทรทัศน์อวกาศ เจมส์เวส ตรวจพบโมเลกุลของแก๊สที่อยู่บนชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ดวงใหม่ที่ห่างจากโลกอยู่ประมาณ 120 ปีแสง มีเส้นผ่าศูนย์กลาลใหญ่กว่าโลกมนุษย์ 2.6 เท่าและมีมหาสมุทร์อยู่เป็นจำนวนมากปกคลุมอยู่ โคจรอยู่รอบดาวเคราะห์สีแดง K2-18 ดาวแคะแดง โคจรอยู่ใน
เขตที่เอื้อต่อการอยู่อาศัยของสิงมีชีวิต เป็นการค้นพบของมหาลัยเคมบริดจ์ สำหรับแก๊สที่ค้นพบคือ แก๊สมีเทน และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีแก๊สไฮโดรเจนอยู่เป็นจำนวนมาก สำหรับแก๊สทั้งสองชนิดนี้ที่โลกมนุษย์พบว่าเกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นคนสร้างขึ้นมา นอกจากนี้ยังพบ แก๊ส ไดมี ทิว ซันฟาย เกิดจากแพลงตอนพืชที่อยู่ในมหาสมุทร์ เหมือนกับของโลกมนุษย์
สนใจเรื่อง สลาร อวกาศ เรื่องลี้ลับ ติดตามได้ที่ :: สสาร