บรมยุคพรีแคมเบรียน กับ 3 บรมยุคที่ถูกแบ่งออกมา โดยนักวิทยาศาสตร์

บรมยุคพรีแคมเบรียน

อภิมหา บรมยุคพรีแคมเบรียน ยุคแรกเริ่มของประวัติศาสตร์ 

บรมยุคพรีแคมเบรียน ในทางธรณีวิทยา ยุคแรกเริ่ม ของ มหายุคพรีแคมเบรียน เป็นยุคที่ครอบคลุม ประวัติศาสตร์อันยาวนาน ในช่วงเวลา 4600 ล้านปี จนถึง 540 ล้านปีก่อน โดย อภิมหาบรมยุคพรีเเคมเบรียม ซึ่งจะคิดเป็นประมาณ ร้อยละ 88 ธรณีกาลของโลก

อภิมหาบรมยุคพรีเเคมเบรียม ส่วนใหญ่แล้ว ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันมาก ถึงแม้ว่าจะมีการ กินเวลาของประวัติศาสตร์ มากถึง 7 ใน 8 ซึ่งเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุด เกี่ยวกับยุคที่เรารู้จัก ซึ่งถูกค้นพบตั้งแต่ในช่วงคริสตศักราช 1960 ตั้งแต่นั้นมา ในช่วงยุคนั้น หินถูกแปรสภาพ อย่างหนักหน่วง ด้วยการถูกบดบัง

ตั้งแต่ต้นกำเนิดของหินเหล่านั้น และในขณะที่หินอื่นๆ ถูกทำลายกัดกร่อน และถูกฝังไว้อยู่ชั้นใต้หิน ที่อยู่ในช่วงของ บรมยุคฟาเนอโรโซอิก และในช่วงอภิมหาบรมยุคพรีเเคมเบรียม ได้ประกอบไปด้วย 3 บรมยุค ซึ่งได้แก่ บรมยุคเฮเดียน บรมยุคอาร์เคียน และบรมยุคโพรเทอโรโซอิก 

นักวิทยาศาสตร์ ได้ทำการแบ่ง บรมยุคพรีแคมเบรียน ออกไปเป็น 3 บรมยุค 

บรมยุคเฮเดียน บรมยุคอาร์เคียน และ บรมยุคโพรเทอโรโซอิก ซึ่งในแต่ละบรมยุค (Eon) จะมีความแตกต่าง ของทางด้านพื้นผิวโลก รวมถึงอุณหภูมิในตอนนั้น และออกซิเจน ทุกอย่างนั้น ถือว่าเป็นช่วงในแต่ละยุค และชั้นบรรยากาศ ที่มีความหนาแน่นที่แตกต่าง ที่มาของคำว่าพรีแคมเบรียน Pre ที่แปลว่าก่อนหน้า

ความหมายก็คือ ยุคก่อนหน้าของแคมเบรียน เมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อน แผ่นเปลือกโลก เย็นตัวลง และแร่ถูกตกเป็นผลึก และกลายเป็นน้ำแข็ง นั่นถือว่ากลายเป็น เปลือกโลกมหาสมุทรเริ่มต้น บรรยากาศ และไอน้ำ ควบแน่นไปด้วยฝนและสารละลาย รวมถึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ลงสู่พื้นผิว แล้วถูกกักเก็บไว้ อยู่ในชั้นหิน

ไม่ว่าจะเป็นหินปูน หรือเห็นโดโลไมท์ และรวมถึง สิ่งมีชีวิต เมื่อ 4 พันล้านปีก่อน ได้ถูกเริ่มขึ้น จากการเกิดมหาสมุทร โดยนักวิทยาศาสตร์ มีความเชื่อกันว่า น้ำมีต้นกำเนิดมาจาก การปะทุของภูเขาไฟ ซึ่งมีการได้เกลือมาจาก กระบวนการผุพัง และไหลลงสู่มหาสมุทร

ถือว่าเป็นแนวคิด ที่มีความเชื่อว่า น้ำทั้งหมดอาจจะมาจาก ดาวหาง ซึ่งเป็นดาวขนาดใหญ่ ที่พุ่งชนโลกในอดีต ซิ่งดาวหางนั้น จะต้องมีองค์ประกอบอย่างเช่น น้ำแข็ง มีเทน แอมโมเนีย และคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถึงเศษหินที่ปะปนกัน และแร่ธาตุต่างๆมากมาย 

3 บรมยุคที่ถูกแบ่งออกมา จากอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน มีความแตกต่างอย่างไรบ้าง 

บรมยุคฮาเดียน (Hadean Eon) 

มีการครอบคลุม ตั้งแต่ในช่วง 4,600-3,800 ล้านปี ซึ่งเมื่อก่อนนั้น โลกมีพื้นผิว และอุณหภูมิที่สูงมาก เปรียบได้ว่าพื้นโลกนั้น เหมือนแม็กม่า ที่มีเยอะแยะมากมายมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่ายิ่งเวลาผ่านไปนาน แม็กม่า ที่อยู่ภายในโลก ก็จะมีการแยกชั้น และมีลำดับตามความหนาแน่น ส่วนผิวด้านนอก ที่อยู่ด้านบนสุด ก็จะเริ่มเย็นตัวลง ถึงแม้ว่าช่วงนั้น จะมีการปะทุภูเขาไฟจำนวนมาก

ซึ่งถ้าหากคุณได้เห็น คุณจะได้เห็นแม็กม่า ที่มีสีเข้มสุดๆ หลังจากนั้น มันก็เริ่มเย็นตัวลง และกลายเป็นหินโคมาทิไอท์ รวมถึงบรรยากาศ จะปกคลุมไปด้วยความหนาแน่น ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถึง ไนโตรเจน ไดออกไซด์ มีเทน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ รวมถึง ไอน้ำ ได้ถูกปล่อยออกมา พร้อมกับการปะทุของภูเขาไฟ ที่มีจำนวนมากบนโลกตอนนั้น เรียกได้ว่าพื้นที่ทุกที่ มีการปะทุอยู่ตลอดเวลา ซึ่งนั่นเป็นเวลาของบรมยุคฮาเดียน

บรมยุคอาร์เคียน (Archean Eon)

ในยุคนี้ ครอบคลุมตั้งแต่เวลา  3,800-2,500 ล้านปี โดยพื้นผิวโลก และเปลือกโลก เกิดการหลอมละลายเป็นบางส่วนเท่านั้น โดยมีการแยกลำดับส่วน พวกแร่เหล็กทั้งหลาย และแร่นิกเกิล ซึ่งเป็นแร่ที่มีความหนาแน่นสูง ได้ถูกจมลงไปใต้แกนโลก และได้เกิดแม็กม่า ที่มีสัดส่วนของซิลิก้า ซึ่งเป็นแร่มีเพิ่มมากขึ้น ถูกสร้างกลายเป็นหมู่เกาะ รวมถึงหินอัคนี และในช่วง 3800 ล้านปี หินแข็งก็เริ่มถูกกัดกร่อน ด้วยกระบวนการผุพัง พื้นผิวโลกและทวีป ถูกกลายเป็นตะกอน และมีการค้นพบว่า ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตะกอนทะเลลึก ซึ่งเป็นโคลน และทรายสกปรก จนทำให้มีการเกิดสิ่งมีชีวิตขึ้น ที่เรียกคำว่า อาร์เคียแบคทีเรีย ซึ่งลักษณะของมัน เป็นลักษณะที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ ภายในสภาพแวดล้อมที่โหดร้าย ทางอากาศที่ร้อนจัด และน้ำทะเลที่เค็มจัด และยังเชื่อว่า สภาพแวดล้อมของโลกในยุคนั้น ของยุคเริ่มแรก และจนถึงปัจจุบัน ยังมีโอกาสที่จะได้พบ อาร์เคียแบคทีเรีย อาจจะพบเจอได้ ตามแนวสันเขา ที่อยู่กลางมหาสมุทร ซึ่งมีโอกาสได้พบเจออย่างแน่นอน และมาถึงในช่วงตอน 3,500 ล้านปี ได้ถือกำเนิดเซลล์โพรคารีโอต ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส มีการดำรงชีวิตด้วยการใช้สารเคมี ที่มาจากทางภูเขาไฟ และน้ำพุร้อน ที่อยู่ใต้ก้นมหาสมุทร รวมถึงน้ำฝน ที่ตกขังรวมกัน กลายเป็นทะเลลึก และมีสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น เช่น แบคทีเรียสีเขียว ซึ่งมันก็คือตัว คลอโรฟิลล์ นั่นเอง และตัวมัน สามารถใช้งานก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ที่สุด จึงเกิดกระบวนการ และสังเคราะห์แสง ทำให้ปล่อยก๊าซออกซิเจน ขึ้นสู่บรรยากาศ และก๊าซออกซิเจนบางส่วน ก็ถูกสตาโทสเฟีย มีการแตกตัว ได้ทำการรวมกัน กลายเป็นก๊าซโอโซน ซึ่งเป็นการช่วยห่อหุ้มโลก และป้องกันอันตรายที่มาจากแสงอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ มีสิ่งมีชีวิต ที่ริเริ่มขึ้น และอพยพขึ้นมาอยู่บนบก ซึ่งเป็นช่วงของการวิวัฒนาการ 

บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic Eon) 

ในยุคนี้มีการใช้เวลา และครอบคลุมยุคสมัย 2,500-545 ล้านปี หลังจากที่โลกเย็นตัวลง ได้เกิดยุคใหม่ นั่นก็คือยุค Ice Age หรือ ยุคน้ำแข็ง และหลังจากนั้น ก็ผ่านหลายร้อยล้านปี ซึ่งเปลือกโลก ที่มีการผุพัง และเกิดการละลาย และเกิดตะกอนสารพัด จากพื้นทวีป มุ่งสู่ท้องมหาสมุทร ทำให้ชายฝั่งเริ่มมีการตื้นขึ้น จากนั้นสิ่งที่มีชีวิต ในมหาสมุทร ได้แพร่พันธุ์เพิ่มขึ้น ซึ่งมีเพิ่มขึ้นเยอะมาก จนต้องมาวิวัฒนาการ ขึ้นมาอยู่บนบก ในเมื่อ 2000 ล้านปีก่อน พื้นทวีปมีแต่ตะกอนสีแดง ซึ่งมาจากแร่ธาตุเหล็ก ที่พบได้ในน้ำ สัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ จนทำให้กลายเป็นสีแดง ในขณะที่หินคาร์บอเนต ถูกพบได้มากขึ้น ในมหาสมุทร รวมถึงสิ่งมีชีวิต ที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ทางวิวัฒนาการ มีการสร้างส่วนที่แข็งที่สุด ไม่ว่าจะเป็นเปลือก ซึ่งเราจะได้เห็นจากฟอสซิล เป็นการเริ่มต้น ที่เราจะได้เห็นจนมาถึงในยุคปัจจุบันนี้ ความหลากหลาย ของสัตว์หลายพันชนิด บางชีวิตก็มีการเกิด และสาบสูญพันธุ์ไป ในเมื่อสมัยก่อนๆ และกลายมาจนถึงยุคปัจจุบัน 

4ถึงแม้ว่าในปัจจุบันนี้ จะมีถึง 4 บรมยุค ซึ่งนั่นก็คือ บรมยุคฟาเนอโรโซอิก

สืบเนื่องจากตั้งแต่ 3 บรมยุคแรก ส่วนใหญ่แล้วมักพบ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก แถมยังไม่มีหลักฐาน ฟอสซิลที่ปรากฏแบบแน่ชัด จึงทำให้มีการแบ่งออกเป็นย่อย และในกาลเวลานั้น จะมีการระบุให้ได้แบบละเอียด เกี่ยวกับบรมยุคทั้งหลาย ซึ่งมีการเรียก 3 บรมยุคนี้กันว่า พรีแคมเบรียนนั่นเอง

และนี่คือข้อมูลโดยสรุป อภิมหายุคพรีแคมเบรียนเป็น ประวัติศาสตร์แรกเริ่ม ตั้งแต่ยุคสมัยโลกได้กำเนิด มหายุคพาเลโอโซอิก จนเกิดสิ่งมีชีวิตในครั้งแรก และต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งแน่นอนว่า พรีแคมเบรียน ได้กินเวลามาถึง 7 ต่อ 8 ถึงโลกเลยทีเดียว 

ดูหนังออนไลน์

แทงบอลโลก