กรดเปอร์ซีนิก เหมือนกับโครเมียมไตรออกไซด์ที่เชื่อกันว่าเมื่อละลายในน้ำจะได้กรดโครมิก
กรดเปอร์ซีนิก ซึ่งในสารประกอบนี้ ซีนอนมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +8
กรดเปอร์ซีนิก เป็นผลทำให้กรดชนิดนี้เป็นตัวออกซิไดส์ที่รุนแรงรวมทั้งยังมีความเป็นกรดสูง เนื่องจากอะตอมของซีนอนจะดึงดูดอิเล็กตรอนเอาไว้ได้แรงมาก ทำให้พันธะระหว่าง O-H อ่อน โปรตอนจึงสามารถแตกตัวได้ง่าย
แต่ยังมีความเป็นกรดต่ำกว่ากรดเปอร์คลอริก เป็นกรดที่มีสี่โปรตอน (en:tetraprotic acid) ซึ่งสามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ 4 ตัวต่อ 1 โมเลกุล และยังสามารถเกิดเป็นเกลือของแอนไอออนที่มีคุณสมบัติเป็นแอมโฟเทอริกได้อีกด้วย
ตัวอย่างเช่นซิลเวอร์เปอร์ซีเนต จะเกิดสารประกอบดังนี้
โมโนซิลเวอร์ ไตรไฮโดรเจนเปอร์ซีเนต – AgH3XeO6
ไดซิลเวอร์ ไดไฮโดรเจนเปอร์ซีเนต – Ag2H2XeO6
ไตรซิลเวอร์ โมโนไฮโดรเจนเปอร์ซีเนต – Ag3HXeO6
เตตระซิลเวอร์เปอร์ซีเนต – Ag4XeO6